ปพ.๘๖ - kM (ท ภ.2)

June 18, 2018 | Author: Anonymous | Category: N/A
Share Embed


Short Description

Download ปพ.๘๖ - kM (ท ภ.2)...

Description

แผนกวิชาอาวุธ กองการศึกษา โรงเรียนทหารราบ .........................................................................................................

หมวดวิชา อาวุธ

m o เรื่อง .c g a z ปนพกziแบบ g ๘๖ o e g ขนาด .๔๕ มม. . w

w w

......................................................................................................... ศูนยการทหารราบ คายธนะรัชต อ.ปราณบุรี จว.ประจวบคีรีขันธ

-๑-

แผนกวิชาอาวุธ กองการศึกษา โรงเรียนทหารราบ ศูนยการทหารราบ คายธนะรัชต อ.ปราณบุรี จว.ประจวบคีรีขันธ ...............................

วิชา อาวุธประจํากาย ๑. บทเรียนเรือ่ ง ๒. ความมุงหมาย

๓. ของเขต ๔. งานมอบ ๕. หลักฐานอางอิง

: ปนพกแบบ ๘๖ (ปพ.๘๖ มม) : เพือ่ ใหนักเรียนไดทราบถึง ๑. คุณลักษณะทัว่ ไป และขีดความสามารถของปน ๒. การถอดประกอบชิ้นสวนของปน ๓. การระวังรักษา และการทําความสะอาด ๔. การตรวจเครื่องนิรภัยของปน ๕. การฝกยิงปนเบื้องตน : เพื่อใหนักเรียนสามารถใช ปพ.๘๖ ไดอยางมีประสิทธิภาพ : อานและทําความเขาใจของบทเรียนกอนลวงหนา ๑ วัน : รส.๒๓ – ๓๕ ขอ ๑ – ๑๑, ๑๘ , ๒๗ – ๓๕, ๓๙, ๖๕, ๗๓, ๗๔, ๗๖

z o e g . w w

a z ig

...................................

w

m o c . g

-๒-

ปนพกแบบ ๘๖ ๑. กลาวนํา.......................................................................................... ๒. คุณลักษณะและขีดความสามารถของปน...................................... ๓. การถอดประกอบชิ้นสวนตาง ๆ ของปน....................................... ๔. การระวังรักษา และการทําความสะอาด....................................... ๕. การตรวจเครื่องนิรภัยของปน....................................................... ๖. การฝกยิงเบื้องตน.......................................................................... ๗. สรุป.............................................................................................. ๑. ปนพก แบบ ๘๖ (ปพ.๘๖) ทบ.ผลิตเอง (ปพ.๙๕) ไมมหี ามไกชวย ก. คุณลักษณะของ ปพ.๘๖ ปพ.๘๖ ขนาด .๔๕ นิ้ว (๑๑ มม.) เปนอาวุธประจํากาย, ทํางานดวยการสะทอนถอยหลังของ ลํากลอง, ปอนกระสุนดวยซองกระสุน สามารถทําการยิงไดในแบบกึ่งอัตโนมัตแิ กสอันเกิดจากการเผาไหม ของกระสุนซึ่งยิงออกไปใชประโยชนในการทําใหสวนเคลื่อนที่ถอยไปขางหลังเพื่อ ๑. คัดปลอกกระสุน ๒. ขึ้นนก ๓. บังคับใหเลื่อนปนถอยมาขางหลัง ในขณะที่เลื่อนปนถอยมาขางหลัง ก็เกิดการอัดแหนบรับแรงถอยดวยการทํางานของแหนบรับ แรงถอย จะบังคับใหเลื่อนปนวิ่งกลับไปขางหนา และบรรจุกระสุนนัดตอไปเขาสูรังเพลิง ๒. ปนพก ๘๖ ขนาด .๔๕ นิ้ว (๑๐ มม.) มีอยู ๒ แบบ คือ ๑. แบบ M 1911 ๒. แบบ M 1911 A 1 ปนทั้ง ๒ แบบนี้ มีการทํางานเหมือนกันผิดกันตรงที่รูปราง ซึ่งแบบ M 1911 A 1 ไดดัดแปลง แกไขใหเหมาะสม และสะดวกแกการใชยิ่งขึ้นไปอีก มีดังนี้ ๑) หางหามไกชวย สรางใหยืนออกไปรับอุมมือยิ่งขึ้น ๒) รอยตัดที่โครงปน ไดดดั แปลงใหสอดนิ้วเขาหนาไกไดสะดวก (สวมถุงมือยิงได) ๓) ไกดานหนา ทําใหเวาสัน้ กวาเดิมและมีลายกันลื่น ๔) เหล็กปดทายโครงปน โคงออกมาและมีลายกันลื่นเพือ่ ใหแนบสนิทกับอุมมือ ๕) ศูนยหนาขยายใหญกวาเดิม ๓. ปนพก ๘๖ ปอนกระสุนดวยซองกระสุนซึ่งบรรจุได ๗ นัด การเคลื่อนที่ไปขางหนาของเลื่อนปน จะดันกระสุนนัดบนจากซองกระสุนเขารังเพลิง, เมื่อยิงกระสุนนัดสุดทายในซองกระสุนออกไปแลวเลื่อนปน จะถอยไปคางอยูขางหลังโดยมีสลักยึดลํากลองขึ้นไปขัดเลื่อนปนไว เมื่อกดเหล็กยึดซองกระสุน

w

z o e g . w w

a z ig

m o c . g

-๓ซองกระสุนจะหลุดออกมาจากชองสวมซองกระสุน ถาสอดซองกระสุนซึ่งบรรจุกระสุนเต็มเขาไปใหม และ กดสลักยึดลํากลองลง เลื่อนปนจะวิ่งกลับไปขางหนา ปนจะยิงตอไปไดอีก ความเร็วในการยิงมีขีดจํากัด ซึ่งขึ้นอยูกับความชํานาญของผูใชในการบรรจุซองกระสุนเขาในปน และความสามารถในการเล็งและลั่นไก ๔. รายการทั่วไป - กวางปากลํากลอง .๔๕ นิว้ (๑๑ มม.) มีเกลียว ๖ เกลียวเวียนซาย - ลํากลองยาว ๕.๐๓ นิ้ว - ปนทั้งกระบอกยาว ๘.๕๙๓ นิ้ว - ปน, ซองกระสุนพรอมดวยกระสุน ๗ นัด หนัก ๒.๔๓๗ ปอนด - แรงเหนี่ยวไก ๕ – ๖ ๑/๒ ปอนด - กําลังงานกระทบในระยะ ๒๕ หลา ๖.๐๐ นิ้ว ดินทราย ดินเปยก ๑๐.๐๐ นิ้ว ทรายแหง ๘.๐๐ นิ้ว - ความเร็วในการยิงทางทฤษฎี ๒๑ – ๒๘ นัด/นาที - ความเร็วในการยิงหวังผล ๑๐ นัด/นาที - ระยะยิงไกลสุด (มุม ๓๐°) ๑,๖๔๐ หลา - ระยะยิงหวังผล ๕๐ หลาลงมา - เกลียวเวียนซาย เพื่อแกอาการเยื้องของการเหนี่ยวไก แกการเยื้องขวาของกระสุน เอ ซี พี .๔๕ นิ้ว ๕. การถอดประกอบ การถอดประกอบตามลําดับและจํานวนชิน้ สวน ดังนี้ ๑. ซองกระสุน ๒. ครอบแหนบรับแรงถอย ๓. ปลอกบังคับแหนบรับแรงถอย ๔. สลักยึดลํากลองปน ๕. โครงปนออกจากเลื่อนปน ๖. แกนแหนบรับแรงถอย ๗. แหนบรับแรงถอยจากดานหนา ๘. ลํากลองปน ๙. เลื่อนปน

w

z o e g . w w

a z ig

m o c . g

-๔๖. การถอดประกอบพิเศษ (ตามลําดับการถอด คือ ) ก. ที่เลื่อนปน ๑. ถอดเหล็กปดทายเข็มแทงชนวน ๒. เข็มแทงชนวนและแหนบ ๓. ขอรั้งปลอกกระสุน ขอสังเกต ระวังการประกอบเหล็กปดทายผิดทาง ตองประกอบขอรั้งปลอกกระสุนกอน มิฉะนั้นอาจ ประกอบเหล็กปดทายเข็มแทงชนวนไมเขา ข. ที่โครงปน ๑. ถอดหามไก ๒. สลักเหล็กปดทายโครงปน ๓. เหล็กปดทายโครงปน ๔. หามไกชวย ๕. แหนบกระเดื่องนกปน (แหนบสามขา) ๖. สลักนกปน ๗. นกปน ๘. สลักกระเดื่องนกปน ๙. กระเดือ่ งนกปน ๑๐. สลักปลดกระเดื่องนกปน ๑๑. เหล็กยึดซองกระสุน ๑๒. ไกและสะพานไก ขอควรสังเกต ๑. การประกอบจากลําดับหลังสุดไปหาลําดับแรก ๒. กอน ถอด – ประกอบหามไก ตองขึ้นนกปนกอนทุกครั้ง ๓. ชิ้นสวนในเหล็กปดทายโครงปน ไมควรถอดออกโดยไมจําเปน ๔. การถอดเหล็กยึดซองกระสุน ควรใชไขควงตัวเล็กมีขนาดเทากับหมุดเกลียวของเหล็กยึดซอง กระสุน (ถาหากจําเปนอาจใชปลายของแหนบหามไกชวยถอดก็ได) ๕. ถาตองการทําใหไกปนออน ใหดดั ทีแ่ กนแหนบเหล็กปลดกระเดือ่ งนกปน และแหนบกระเดือ่ ง นกปน (ดัดขึน้ ) ๗. การระวังรักษาและการทําความสะอาด ความชื่นและเหงื่อที่มือเปนสิ่งเรงใหเกิดสนิมเร็วขึ้น หลังจากการฝกหรือนําปนไปใชควรทําความ สะอาดและปองกันสนิมเสมอ ซึ่งควรปฏิบัติดังนี้

w

z o e g . w w

a z ig

m o c . g

-๕ก. กอนนําออกฝกหรือกอนการยิง ๑) ทําความสะอาดลํากลองและรังเพลิงโดยเช็ดน้ํามันออกใหหมด ๒) ควรหยดน้ํามันหลอลื่น ๒ – ๓ หยด ตามชิ้นสวนเคลื่อนที่ ๓) ตรวจเครื่องนิรภัยและชิ้นสวนของปน ๔) ตรวจซองกระสุน ทําความสะอาดและหลอลื่นเล็กนอย ข. ภายหลังการฝกหรือหลังจากการยิง ๑) ทําความสะอาดทันที โดยถอดปกติชําระลางลํากลอง แยงดวยแปรงขนหนู ๒) วิธีปฏิบัติตอไป คงปฏิบัติเหมือนกับการทําความสะอาดอาวุธประจํากาย ๓) ตองทําความสะอาดติดตอกันเปนเวลาอยางนอย ๓ วัน ขอควรระวัง ภายหลังการยิง อยาชโลมน้ํามันในลํากลองกอนที่จะชําระลํากลองใหสะอาดและเช็ดแหงแลว เสียกอน ขอสังเกตเกี่ยวกับการใชปนพก แบบ ๘๖ ก. หลังจากการฝกไมควรทิง้ ปนไวโดยไมทําความสะอาด เพราะเมื่อเกิดการชํารุดแลวยากที่จะ แกไข ข. ชโลมน้ํามันเพียงบาง ๆ ค. อยาวางปนลงบนพื้นทีม่ ีฝุนละออง เพราะวัตถุดังกลาวอาจจะเขาไปภายในลํากลองและเครื่อง กลไก ง. อยาใชเศษผาหรือวัตถุอื่นใด อุดปากลํากลองเพราะอาจหลงลืมถอดออก ซึ่งจะทําใหลํากลองแตก หรือบวมเมื่อมีการยิง จ. ไมควรลั่นไกขณะทําการถอด ฉ. ควรใชนิ้วชี้ลั่นไกถาใชนิ้วกลาง นิ้วชี้จะลั่นสวนเคลื่อนที่และกดสลักยึดลํากลองจะเปนเหตุ ให เหตุใหเลื่อนปนถอยไมสะดวก ช. เมื่อลั่นไกไปแลวตองปลอยไก เพื่อใหเหล็กปลดกระเดื่องนกปนขัดกับกระเดื่องนกปนไดใหม ซ. เมื่อจะเลิกบรรจุใหถอดซองกระสุนกอน ฌ. การสอดซองกระสุนเขาปน อยากระแทกแรง ๆ เพราะจะทําใหซองกระสุนสะทอนออก และปากซองกระสุนอาจชํารุดได ซึ่งจะเปนสาเหตุใหปน ติดขัดขณะทําการยิง ญ. การเก็บปนพกไว ในซองหนังจะทําใหเปนสนิมไดงายเนื่องจากความชื้นของหนัง ฉะนั้นควรใช ซองปนที่แหงสนิทจริง ๆ ถาจําเปนตองเก็บ ปพ. ไวในซองหนังใหชโลมน้ํามันหนา ๆ ๘. กระสุนของ ปพ. ๘๖ มี ๕ ชนิด คือ ๑. กระสุนธรรมดา M 1911 ใชสังหาร

w

z o e g . w w

a z ig

m o c . g

-๖๒. กระสุนสองวิถี T 30 ใชสังหารและทําสัญญาณ ๓. กระสุนลูกปลาย M 14 ใชลาสัตวเล็กมาเปนอาหาร ๔. กระสุนซอมรบ M 9 ใชฝก ๕. กระสุนฝกหัดบรรจุ M 1921 ขอสังเกต - กระสุนซอมรบ หัวกระสุนไมใชโลหะ อาจเปนกระดาษหรือไมกอก - กระสุนฝกหัดบรรจุที่จานทายปลอกกระสุนไมมีชนวน ขางปลอกกระสุนมีรูเล็ก ๆ ปายสีแดง - กระสุนลูกปลายมีหัวตัด, คอปลอกกระสุนคอด และถาจะใหมีการรั้งและคัดปลอกกระสุนชนิดนี้ ตองปลดซองกระสุนกอนทําการยิงทุกครัง้ ๙. เครื่องนิรภัยของปนพก แบบ ๘๖ มี ๔ อยางคือ ๑. หามไก ๒. หามไกชวย ๓. การขึ้นนกขั้นที่ ๑ ๔. เหล็กปลดกระเดื่องนกปน ก. หามไก วิธีตรวจ ขึ้นนกปนแลวผลักหามไกขึ้นขางบน กําดามปนตามปกติแลวเหนี่ยวไก ๒ – ๓ ครั้ง ถานกปนสับ แสดงวาหามไกชํารุด ตองสงซอม ข. หามไกชวย วิธีตรวจ งางนกปนอยูในทาขึ้นนก อยากดหามไกชวย ชี้ลํากลองลงดินเหนีย่ วไก ๓ – ๔ ครั้ง ถาหามไกชวยจมลงดวยน้ําหนักของตัวเองและสามารถลั่นไกได แสดงวาหามไกชํารุด ให สงซอม ค. การขึ้นนกขั้นที่ ๑ วิธีตรวจ งางนกปนไปขางหลังเกือบสุด แลวคอย ๆ ปลอยกลับคืนไป ขางหนา บากขึ้นนกปนบากแรก จะขัดกับแงที่กระเดื่องนกปน เรียกวา “ ขึ้นนกปนขั้นที่ ๑” หรืออีก วิธี หนึ่ง คือ ขึน้ นกปนขัน้ ที่ ๒ ( ใชสําหรับยิง ) แลวใชมือขางที่ถนัดลั่นไก กอนลั่นไกใชหัวแมมืออีกขาง บังคับทายนกปนไวแลวคอย ๆ ปลอยใหนกปนฟาดตัวไปขางหนาชา ๆ จนนกปนไปขัดที่บากขึน้ นกปน ขั้น ที่ ๑ จากนัน้ จึงปลอยไก แลวทดลองเหนีย่ วไกดูใหม ถาหากสามารถลั่นไกไดแสดงวานกปนหรือกระเดื่อง นกปนชํารุด ตองสงซอม ขอสังเกต การลดนกปนจากขั้นที่ ๒ ไปขั้นที่ ๑ ใชปฏิบัติเมื่อบรรจุกระสุนเขารังเพลิงแลว เปนเครื่อง นิรภัยทีน่ ับวาปลอดภัยดี แตมีขอควรระวังคือ - อาจหลงลืมเรื่องการบรรจุกระสุนอยูใ นรังเพลิง - นกปนอาจฟาดตัวหลุดจากบากขึ้นนกปน ขั้นที่ ๑ ไปตีทายเข็มแทงชนวน ปนอาจลั่นไก

w

z o e g . w w

a z ig

m o c . g

-๗ง. เหล็กปลดกระเดื่องนกปน วิธีตรวจ ขึ้นนกปนแลวดึงเลื่อนปนมาขางหลัง ๑ /๔ นิ้ว แลวลั่นไก ขณะเหนีย่ วไก ใหปลอยเลื่อนปนกลับ ถานกปนฟาดตัวไปขางหนาไดแสดงวาปลายบนของเหล็กปลด กระเดื่องนกปนสึกใหเปลี่ยนใหม ถาหากนกปนไมฟาดไปขางหนาใหปลอยนิว้ เหนี่ยวไก แลวลั่นไกใหม นกปนจะฟาดตัวไปขางหนาได ที่เปนเชนนีก้ ็เพราะเหล็กปลดกระเดื่องนกปนมีหนาที่ปองกันใหนกปน ทํางานขณะทีน่ กปนและลํากลองยังไมกลับเขาที่ และขัดกลอนสนิม นอกจากนัน้ ยังปองกันมิใหปนยิงเปน ชุดอีก การทํางานของเครื่องกลไก ๑. เมื่อสอดซองกระสุนซึ่งบรรจุกระสุนไวแลว เขาในชองบรรจุซองกระสุน และดึงเลือ่ นปนมา ขางหลัง ๑ ครั้ง จะเกิดการทํางาน คือ อัดแหนบแรงถอยขึ้นนก เมื่อเลื่อนปนถอยพนปากซองกระสุนเหล็ก รองกระสุนจะคัดกระสุนนัดบนขึ้นไปขวางทางเดินของเลื่อนปน เมื่อปลอยเลื่อนปน แหนบรับแรงถอยจะ ขยายตัวบังคับเลื่อนปนใหวิ่งไปขางชนกับจานทายกระสุนนัดบนเขาไปในรังเพลิง ทําใหลํากลองวิ่งไป ขางหนาและกระดกขึ้น เพราะหวงขอตอลํากลองถูกดึงไวดว ยสลักยึดลํากลอง ทําใหลํากลองสูงขึ้น ขัด กลอนกับเลื่อนปนสนิท โดยมีสันบนลํากลองเขาไปขัดอยูในรองดานในปน เปนการสิ้นสุดการเคลื่อนที่ไป ขางหนา ปนพรอมทําการยิง ๒. เมื่อวางปนใหอยูในตําแหนงขึ้นนก นกปนหงายมาขางหลังคันผลักนกปนจะดันแหนบนกปน ใหอัดตัว แหนบกระเดื่องนกปนอันยาว (แหนบ ๓ ขา) จะดันลางของกระเดื่องนกปนไปขางหนาปลาย กระเดื่องนกปนจะเขาขัดในบากที่ ๒ ของนกปน (บากแรกถาขัดกับกระเดื่องนกปนเปนการขึ้นนกขั้นที่ ๑ ) นกปนจึงคางอยูขางหลัง และเมื่อจะยิงตองกระทําดังนี้ (๑) บีบที่หามไกชวย เปนการกดโดยอุงมือที่จับปน ทําใหหามไกหมุนตัวบนสลักแงในของหาม ไกชวยจึงพนจากลักษณะทีย่ นั สะพานไกไว สะพานมีทวี่ างถอยมาขางหลังตามแรงเหนี่ยวไกได (๒) เลื่อนปนขัดกลอนสนิทกับลํากลองปน ปลายบนเหล็กปลดกระเดื่องนกปนจะโผลขึ้นในชองที่ เลื่อนปนตอนทาย เหล็กปลดกระเดื่องนกปนจะถูกดันขึ้นตลอดเวลา ดวยแหนบเหล็กปลดกระเดื่องนกปน (แหนบ ๓ ขาอันกลาง) รูสลักเหล็กปลดกระเดื่องนกปนเปนวงรียาวเหมือนตัว (O) ขึ้นลงไดดว ยรูสลัก ถา ปลายบนของเหล็กปลดกระเดื่องนกปนขึน้ ไปโผลที่ชองที่เลื่อนปนไดเหล็กปลดกระเดื่องนกปนชนกับ กระเดื่องนกปนขางลาง ทําใหกระเดื่องนกปนหมุนตัวบนสลักปลายบนกระเดื่องนกปนจะหลุดจากบากที่ ๒ ของนกปน ฟาดตัวสลับลงได ถาเหล็กปลดกระเดื่องนกปนไมโผลที่เลื่อนปน เมื่อเหนี่ยวไกเสร็จสะพานไก จะชนกับเหล็กปลดกระเดื่องนกปนแตอยูต ่ําไป ไมสูงพอ เหล็กปลดกระเดื่องนกปนจะไมติดและไมดนั ตอ กระเดื่องนกปน ปลายบนกระเดื่องนกปนจะไมหลุดจากบากนกปน นกปนจะไมสับลง (๓) ตาม (๒ ) ถาเหนีย่ วไก นกปนเปนอิสระ แหนบนกปนขยายตัวดันใหนกปนฟาดตัวลงตีทาย เข็มแทงชนวน ( เข็มแทงชนวนมีแหนบบังคับอยูตลอดเวลาไมใหวิ่งไปชนกับชนวนทายกระสุนได นกจากถูก ตีจากนกปน) ที่จานทายกระสุนทําใหเกิดระเบิดขึ้นในรังเพลิงกลายเปนแกสขับดันใหลูกกระสุนวิง่ หมุนตาม เกลียวออกไปจากลํากลอง แรงดันแกสดานหลัง จะดันปลอกกระสุนและดันตอหนาเลื่อนปน ทําใหเลื่อนปน

w

z o e g . w w

a z ig

m o c . g

-๘และลํากลองถอยหลังมาพรอมกัน ๒ ซม. สลักยึดลํากลองจะดึงหวงขอตอลํากลองไว ทําให ลํากลอง ต่ําลง ทายลํากลองแยกออกจากเลื่อนปน (ปลอดกลอน) ลํากลองจะหยุดในตําแหนงต่ําสุด เลื่อนปนคงถอย ตอไป ทําใหทายรังเพลิงเปด, รั้งและคัดปลอดกระสุนออก, อัดแหนบรับแรงถอย, ขึ้นนก, เมื่อเลื่อนปนถอย มาขางหลังสุดแลวกระสุนนัดใหมจะถูกดันขึ้นมาสูงสุด เพื่อรอการบรรจุตอไป เมื่อเลื่อนปน วิ่งกลับไป ขางหนาดวยแรงสงของแหนบรับแรงถอยก็บรรจุกระสุนนัดใหมเขาสูรังเพลิง เริ่มตนวงรอบการยิงใหม (๔) ลูกกระสุนมีความเร็ว จะวิง่ พนปากลํากลองไปกอนที่เลื่อนปนและลํากลองจะถอยมาขางหลัง ถึงตําบลปลดกลอน เปนการถวงเวลามิใหรังเพลิงเปดกอน ขณะเดียวกันเลื่อนปนจะมีแรงดันของแหนบรับ แรงถอย และแหนบนกปนดันไวอีก เพื่อปองกันอันตรายจากแกสทายรังเพลิงที่จะเกิดกับผูยิง (๕) การทํางานตาม (๔) ยังใหความแนนอนในการทํางานของปนอีกดวย เมื่อลํากลองปลดกลอน แลวจะหยุดอยูก ับที่ เลื่อนปนยังคงถอยตอไปดวยแรงเฉื่อยจนสุด แลวเคลื่อนที่มาขางหนาใหม ทําใหปน พรอมที่จะยิงนัดใหมตอไปไดอีก เหล็กปลดกระเดื่องนกปนยังปองกันไมใหปนยิงเปนอัตโนมัติอกี ดวย (๖) เมื่อกระสุนหมดซอง แหนบเหล็กรองกระสุนไปดันสลักยึดลํากลองปน กระดกขึ้นไปขัดกับ บากดานซายของเลื่อนปน ทําใหเลื่อนปนถูกยึดคางอยูข างหลัง ใหผูยิงทราบวากระสุนหมดซองใหเปลี่ยน ซองกระสุนใหม การจะปลอยเลื่อนปนใหเคลื่อนที่ไปขางหนา เพื่อบรรจุกระสุนนัดใหม ใหกดตรงลาย กัน ลื่นของสลักยึดลํากลองปนลง (๗) เมื่อจะหามไก ใหดันแผนหามไกขึ้นในตําแหนงหามไกหลังจากขึน้ นกแลวหามไกจะขัดกับ บากที่เลื่อนปน ทําใหเลื่อนปนเคลื่อนที่ไมไดประการหนึ่ง อีกประการหนึ่งแกนหามไกสวนเต็มจะหมุน มา ขวางกระเดื่องนกปนไมใหหลุดจากบากที่ ๒ ของนกปน นกปนจึงฟาดตัวลงไมได เมื่อเปดหามไกสวนเวา จะตรงกับกระเดื่องนกปน ทําใหมีทวี่ าง กระเดื่องนกปนจะหมุนตัว ปลายบนพนจากบากที่ ๒ ของนก ปน นกปนเปนอิสระฟาดตัวไปขางหนาตีเข็มแทงชนวน เกิดการทํางานขึ้นอีก เปนวงรอบเชนนี้จนกวา กระสุนจะหมดซอง การฝกยิงเบื้องตน (การฝกบนพื้นดิน) ก. “ การถือปนพก ” ใชคําบอกวา “ถือปนพก” คือใชมือที่ถนัดถือปน ๓ นิ้ว กํารอบดามปน นิ้วชี้ ชี้ขนานกับลํากลอง ยกปนเสมอแนวไหล (ฝามือ) ข. “ปลดซองกระสุน” ใหพลิกลํากลองออกจากตัวเล็กนอย โดยไมตองลดมือที่จับปนถาใชมือขวา ถือปน ก็ใชหวั แมมือขวากดเหล็กที่ยดึ ซองกระสุน ถาใชมือซายถือปนตองใชมือขวากดเหล็กยึดซองกระสุน และใชอุงมือทีม่ ิไดกําปนรองซองกระสุนไวดว ย เมื่อปลดซองออกแลวจึงนํามาเหน็บไวที่เข็มขัด ค. “เปดรังเพลิง” (ปนตองไมมีซองกระสุน) วิธีปฏิบัติ คว่ํามือที่ไมไดกําปนหัวแมมอื และนิว้ ชี้เขาหาตัว จับเลื่อนปนตรงลายกันลื่นดึงเลื่อนปน ลงจนสุด ถากําปนดวยมือขวา ใชหวั แมมอื ดึงสลักยึดลํากลอง ถาใชมือซายกําปนใหใชนิ้วนางคือนิว้ กอยขวา ดันสลักยึดลํากลองขึ้นขัดกับบากที่เลื่อนปน ขณะปฏิบัติตองไมลดปนลงเลย

w

z o e g . w w

a z ig

m o c . g

-๙ง. “ปดรังเพลิง” ใชหัวแมมือขวา (หรือนิ้วชี้มือขวา เมื่อใชมือซายจับปน) กดสลักยึดลํากลองปนลง ทําใหเลื่อนปนเคลื่อนที่ไปขางหนา (ตองฝกหามไกปนทุกครั้งที่เปดรังเพลิง) และอยูในทาถือปนพก ตลอดเวลา จ. “บรรจุซองกระสุน” เบนลํากลองออกนอกตัวทางขางโดยไมลดปนลง ใชมือที่วางหยิบซอง กระสุนที่เอวสอดเขาในชองใสซองกระสุน ดันเขาไป ฉ. “บรรจุ” (หมายถึงนําซองกระสุนเขาสูรังเพลิง โดยมากมักจะมีคาํ บอกวา หนึง่ ซองจํานวนนัด หรือจํานวนนัดหนึ่งซอง นําหนาคําบอกวา “บรรจุ” กอนเสมอ) ถายังมิไดบรรจุซองกระสุนก็ใหใสซอง กระสุนเขาที่ปน กอน ถาบรรจุซองกระสุนแลวก็เพียงแตดึงเลื่อนปนขึ้นมาขางหลังแลวปลอยกลับ หรือกด สลักเหล็กยึดซองกระสุน ปลอยเลื่อนปนไปขางหนาแลวหามไก ช. “เลิกบรรจุ” ใหปลดซองกระสุนออกกอนแลวเปดรังเพลิง เพื่อนํากระสุนนัดทีอ่ ยูในรังเพลิงออก ตรวจดูในรังเพลิงวาไมมีกระสุนตกขางอยู แลวเปดรังเพลิงอยูในทาถือปนพกแลวลั่นไก จากนัน้ บรรจุซอง กระสุนเขาปน ซ. “ตรวจปนพก” ใหเปดรังเพลิงแลวปลดซองกระสุนออก วางแบไวบนฝามือที่มไิ ดถือปน ยกขึ้น ระดับเข็มขัด ภายหลังการตรวจปดรังเพลิง ลั่นไกในทาถือปนพก แลวบรรจุซองกระสุนเขาปน คอยฟง คําสั่งตอไป ฌ. “เก็บปนพก” ใหลดปนลง นําปนเก็บไวในซองปนแลวอยูใ นทาตรง ๑๐. ทายิง ทายิง ปพ.๘๖ ตามปกติมีเพียงทาเดียว คือ ทายืนยิง ทาฝกยิงปนตามทํานองรบ มี ๓ ทา คือ ๑. ทานอนยิง จับปนสองมือใชยิงในระยะ ๕๐ หลา หรือกวานั้น ๒. ทานั่งคุกเขายิง จับปนสองมือใชยิงในระยะ ๒๕ – ๕๐ หลา ๓. ทายืนยอตัวยิง จับปนมือเดียวใชยิงในระยะประชิด ประมาณ ๑๕ หลา ขอแนะนํา การจับปนพกเพือ่ ทําการยิงนั้น ผูยิงจะตองฝกไหเคยชินเกีย่ วกับการจับปน โดยเฉพาะการจับ ที่ ถูกตอง เพราะ ปพ.๘๖ ตามปกติมีอาการสะบัดมากกวาปนชนิดอื่น ๆ ซึ่งพอสรุปเปนขอปฏิบัติดังนี้ ๑. จับเลื่อนปนหันดามปนเขาหามือที่ใชยงิ พยายามใหดานหลังอยูท ี่กึ่งกลางของรอยพับระหวาง หัวแมมือกับนิว้ ชี้ ๒. นิ้วทีก่ ําดามปน ๓ นิ้ว รูดชิดใตโกรงไกเขาดามปน ๓. กําปนแนนพอประมาณ ถายิงจังหวะชาจับแนนขึ้น ถาหากเปนการยิงเร็ว (แตอยาเกร็ง) นิ้วชี้ตอ ง เปนอิสระจริง ๆ ๔. นิว้ หัวแมที่กําปนตั้งขึ้น อยางนอยเทากับระดับของโคนนิ้วชี้ที่ใชลั่นไกปน แตไมสูงจนเลยแผน หามไก เพราะจะทําใหมือไมกดหามไกชวย ปนจะลั่นไกไมได ๕. ในการยิงจังหวะเร็ว ควรลอคขอศอกและหัวไหลเพื่อปนกลับเขาที่เร็วขึ้น และไมทําใหเสนเล็ง เสียไปบางนัด (การเล็งตรง)

w

z o e g . w w

a z ig

m o c . g

- ๑๐ ๖. ลําตัวของผูยิงควรทํามุมกับแนวยิงหรือแนวเปาประมาณ ๔๕ องศา แตไมควรเกิน ๙๐ องศา สําหรับทายิงนีไ้ มถือวาเปนกฎตายตัววาทุกคนตองปฏิบัติเหมือนกันทั้งหมด เพราะรูปราง , ขนาด และความถนัดของแตละบุคคลยอมไมเหมือนกัน ผูยงิ ควรคนควาแกไขไปเรื่อย ๆ จนกระทั่งไดทาทางที่ เหมาะสมกับลักษณะเฉพาะของตน แตอยางไรก็ตามในขัน้ แรกของการฝกนั้นไมควรจะทิ้งหลักการดังกลาว ๑๑. เปา ของ ปพ.๘๖ มี ๒ ประเภท คือ ประเภทเปาหุน และประเภทเปาปนพก ๑. ประเภทเปาหุนมี ๓ ชนิด คือ - เปาหุน ก (เปาหุนนอน) - เปาหุน ข (เปาหุนนั่ง) - เปาหุน ค (เปาหุนยืน) ๒. ประเภทเปาปนพก มี ๒ ชนิด คือ - เปา ปพ. ก ใชสําหรับฝกยิง ปพ.๘๖ ในระยะไมเกิน ๒๕ เมตร - เปา ปพ. ข ใชสําหรับฝกยิง ปพ.๘๖ ในระยะเกินกวา ๒๕ – ๕๐ เมตร สรุป ปพ.๘๖ เปนอาวุธที่มีลํากลองสั้นกวาชนิดอื่น และนายทหารสัญญาบัตรสวนมากมีไวเพื่อใช ประจําตัว ฉะนั้นผูมีไวเพื่อปองกันตนเอง จึงควรมีความรูความสามารถในการใชพอสมควรซึ่งมีขอควรระลึก และควรปฏิบตั ิดังนี้ ๑. เกลียวของ ปพ.๘๖ มีลักษณะเวียนซาย ผิดกับอาวุธชนิดอื่น ซึ่งเวียนขวา ๒. กระสุนและลํากลองมีขนาดกวางกวาอาวุธประจํากายชนิดอืน่ ทําใหปนมีอาการสะบัดเมื่อ ทําการยิง เพราะหนาตัดลูกกระสุนกวางมีแรงเสียดทานกับลํากลองที่สั้นมาก ๓. ซองกระสุนตองระวังอยาใหปากซองกระสุนผิดรูป ดวยการทําหลน บรรจุกระสุนดวยการตบ แรงเกินควรและอื่น ๆ เพราะจะทําใหปน ติดขัดขณะทําการยิง ๔. ตองตรวจเครื่องนิรภัยของปนทุกครั้งทีน่ ําออกใช ๕. กระสุนลูกปราย ถาจะใหมีการคัดปลอก ตองปลดซองกระสุนอกกอนทําการยิง ๖. อยาประมาท เชน เล็งปนและลั่นไกไปยังซึ่งที่ไมปลอดภัย ๗. ในการฝกทหาร ตองจัดใหมีครู ผูชว ยครูมากพอสมควร โดยเฉพาะการยิงปนในสนาม เพราะ อาจเกิดอุบัตเิ หตุไดงาย ๘. ถาฝกเล็งและลั่นไกบอย ๆ จะทําใหผูฝก ยิงปนไดผล ถึงแมวาจะไมมีกระสุนซอมยิงก็ตาม

w

z o e g . w w

a z ig

m o c . g

View more...

Comments

Copyright © 2017 HUGEPDF Inc.